วันเสาร์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2559

การเลือกใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และการจัดชุดคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามลักษณะงาน

การเลือกใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และการจัดชุดคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามลักษณะงาน



เมนบอร์ด เป็นศูนย์รวมของอุปกรณ์ต่างๆ ที่ต้องนำมาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน อันได้แก่ซีพียู หน่วยความจำ ฮาร์ดดิสก์ และอินเฟชต่างๆ เมนบอร์ดมีหลายรูปแบบตาม Form Factor ต่างๆ เช่น ATX, mATX และ iTX นอกจากนี้ยังมีรุ่นสำหรับใช้งานทั่วไป รุ่นสำหรับโอเวอร์คล็อก และรุ่นสำหรับการเล่นเกม


ซิปเซต เป็นอุปกรณ์สำคัญที่ใช้สำหรับกำหนดสถาปัตยกรรมของเมนบอร์ด ทำหน้าที่กำหนดคุณสมบัติของเมนบอร์ดเกือบทั้งหมด การทำงานของซีพียูจะมีประสิทธิภาพสูงได้จำเป็นต้องพึ่งพาการทำงานของชิปเซตที่มีประสิทธิภาพด้วย 

ซีพียู คือหน่วยประมวลผลกลาง สำหรับซีพียูที่ใช้งานบนเครื่องซีพีทั่วไป ก็จะมีทั้งจากค่าย Intel และ AMD สำหรับเทคโนโลยีซีพียูในยุคนี้ จะเป็นซีพียูหลายแกน (Multi-Core CRU) ที่ภายในบันจุแกนสมองมากกว่าหนึ่งแกน เพื่อคอยช่วยงานประมวนผล 

   หน่วยความจำหลัก หรือแรม ใช้เป็นพื้นที่สำหรับจัดเก็บข้อมูลชั่วคราว เพื่อส่งข้อมูลไปยังซีพียูประมวนผล สำหรับแรมที่นิยมใช้ในปัจจุบันคือ DDR3 

ฮาร์ดดิสก์ คือหน่วยความจำสำรอง นำมาใช้จัดเก็บโปรแกรมและข้อมูล โดยปัจจุบันมีให้เลือกใช้ทั้งแบบจานหมุนและ SSD (Solid State Drive) เครื่องขับออปติคัล ในปัจจุบันควรเลือกใช้เครื่องขับแผ่นดีวีดี (DVD-RW Drive) เป็นอย่างต่ำ ที่ได้รวมความสามารถต่างๆ ในการจัดการกับแผ่นซีดีและแผ่นดีวีดี

   คีย์บอร์ดและเมาส์ เป็นอุปกรณ์พื้อฐานสำหรับป้อนข้อมูลนำเข้า โดยคีย์บอร์ดจะใช้สำหหรับป้อนข้อมูลต่างๆ ส่วนเมาส์จะใช้ชี้ตำแหน่งและคลิกเพื่อเลือกวัตถุหรือสั่งรันโปรแกรม 

จอภาพคอมพิวเตอร์ ที่ใช้งานในปัจจุบัน ล้วนเป็นจอภาพแบบ LCD ที่ใช้หลอด LED เป็นอุปกรณ์ส่องสว่างจากด้านหลัง (Backlight) แทนหลอดฟลูออเรสเซ็นต์แบบเดิม ทำให้จอภาพสามารถส่องความสว่างได้มากกว่า น้ำหนักเบา ต้นถุนถูกลง และประหยัดพลังงานมากกว่า 

    การ์ดจอภาพ ปกติมักจะออนบอร์ดมาให้พร้อมบนเมนบอร์ดรุ่นใหม่ๆ ซึ้งจะใช้งานควบคู่กับซีพียูที่มี GPU บรรจุอยู่ภายใน อย่างไรก็ตาม หากต้องการแสดงผลภาพที่มีประสิทธิภาพสูงมากขึ้น ก็สามารถใช้การ์ดจอแยก ซึ้งมีทั้งการ์ดจอสำหรับเล่นเกม และการ์ดจอสำหรับงานประมวลผลการฟิกโดยเฉพาะ

  การ์ดเสียง เป็นอุปกรณ์แปลงสัญญาณเสียง  ซึ่งเมนบอร์ดทั่วไปมักออนบอร์ดพอร์ตออดิโอมาให้อยู่แล้ว แต่ถ้าต้องการพลังเสียงที่มีคุณภาพ ก็สามารถใช้การ์ดเสียงระดับไฮเอนด์ก็ได้ ซึ่งเหมาะกับงานสตูดิโอ หรือเล่นเกม

การ์ดเครือข่าย หรือพอร์ต LAN ซึ่งมักออนบอร์ดมาให้อยู่แล้วบนเมนบอร์ด นำไปใช้เชื่อมต่อเครือข่าย สำหรับกรณีต้องการใช้การ์ดเครือข่ายแบบไร้สาย ก้สามารถติดตั้งเพิ่มเติมผ่านสล็ตขยายได้

ลำโพง เป็นอุปกรณ์เอาท์พุตที่ใช้ควบคุมการ์ดเสียง สำหรับลำโพงพื้นฐานที่วไปสามารถใช้ไฟเลี้ยงผ่านพอร์ต USB แต่ถ้าใช้ลำโพงชุดใหญ่ที่มีพลังขับสูง มีซัปวูฟเฟอร์ขับเสียงทุ้ม หรือเป็นลำโพงแบบหลายแชนแนล จะต้องใช้ไฟต่างหาก

เครื่องพิมพ์ เป็นอุปกรณ์แสดงผลในรุปแบบ Hard Copy ปัจจุบันมีหลายประเภทให้เลือกใช้ เช่น เครื่องพิมพ์แบบดอทเเมทริกซ์, เลเซอร์ และอิงค์เจ็ต

สแกนเนอร์ เป็นอุปกรณ์อินพิตที่นิยมใช้สำหรับการสแกนเอกสารเพื่อจัดเก็บเป็นไฟล์ดิจิตอล

 เครื่องมัลติฟังก์ชัน เป็นอุปกรณ์ทั้งอินพุตและเอาท์พุต โดยเป็นเครื่องที่ผนวกอุปกรณ์มากกว่าหนึ่งชิ้น ซึ่งโดยมักจะเป็นเครื่องพิมพ์และสแกนเนอร์ภายในตัว หรือบางรุ่นอาจผนวกเครื่องโทรสารมาให้ด้วย

  เพาเวอร์ซัพพลาย เป็นอุปกรณ์สำคัญที่ทำหน้าที่จ่ายไฟให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ควรคัดเลือกยี่ห้อที่น่าเชื่อถื มีคุณภาพ และกำลังวัตต์เต็ม ทั้งนี้หากคุณภาพของซัพพลายไม่ดี จะจ่ายไฟไม่นิ่ง ส่งผลต่ออุปกรณ์สั้นลง

UPS เป็นอุปกรณ์สำรองไฟกรณีไฟดับ เพื่อให้เราสามารถสั่งบันทึกไฟล์ได้หากเกิดไฟดับขึ้นมา เครื่อง UPS ที่ดี นอกจากสำรองไฟได้แล้ว ควรมีระบบปรับแรงดัน เพื่อป้องกันไฟตก หรือไฟเกิน

การจัดชุดคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามลักษณะงาน สามารถแบ่งประเภทออกเป็นชุดคอมพิวเตอร์ต่างๆ ดังนี้
          1. ชุดคอมพิวเตอร์สำหรับใช้งานทั่วไป
          2. ชุดคอมพิวเตอร์สำหรับงานสำนักงาน
          3. ชุดคอมพิวเตอร์สำหรับโปรแกรมกราฟฟิกและงานออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์
          4. ชุดคอมพิวเตอร์สำหรับงานประมวลผลกราฟฟิกขั้นสูง
          5. ชุดคอมพิวเตอร์สำหรับเล่นเกม

วันพฤหัสบดีที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2559

การเลือกใช้อุปกรณ์และการจัดชุดคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามลักษณะงาน1

บทที่2
             การเลือกใช้อุปกรณ์และการจัดชุดคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามลักษณะงาน        
เมนบอร์ด เป็นศูนย์รวมของอุปกรณ์ต่างๆ ที่ต้องนำมาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน อัน ได้แก่ซีพียู หน่วยความจำ ฮาร์ดดิสก์ และอินเฟชต่างๆ เมนบอร์ดมีหลายรูปแบบตาม Form Factor ต่างๆ เช่น ATX, mATX และ iTX นอกจากนี้ยังมีรุ่นสำหรับใช้งานทั่วไป รุ่นสำหรับโอเวอร์คล็อก และรุ่นสำหรับการเล่นเกม




ชิปเซต เป็นอุปกรณ์สำคัญที่ใช้สำหรับกำหนดสถาปัตยกรรมของเมนบอร์ด ทำหน้าที่กำหนดคุณสมบัติของเมนบอร์ดเกือบทั้งหมด การทำงานของซีพียูจะมีประสิทธิภาพสูงได้จำเป็นต้องพึ่งพาการทำงานของชิปเซต ที่มีประสิทธิภาพด้วย
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ซีพียู I7 TOP
ซีพียู คือหน่วยประมวลผลกลาง สำหรับซีพียูที่ใช้งานบนเครื่องซีพีทั่วไป ก็จะมีทั้งจากค่าย Intel และ AMD สำหรับเทคโนโลยีซีพียูในยุคนี้ จะเป็นซีพียูหลายแกน (Multi-Core CRU) ที่ภายในบันจุแกนสมองมากกว่าหนึ่งแกน เพื่อคอยช่วยงานประมวนผล



  หน่วยความจำหลัก หรือแรม ใช้เป็นพื้นที่สำหรับจัดเก็บข้อมูลชั่วคราว เพื่อส่งข้อมูลไปยังซีพียูประมวนผล สำหรับแรมที่นิยมใช้ในปัจจุบันคือ DDR4


ฮาร์ดดิสก์ คือหน่วยความจำสำรอง นำมาใช้จัดเก็บโปรแกรมและข้อมูล โดยปัจจุบันมีให้เลือกใช้ทั้งแบบจานหมุนและ SSD (Solid State Drive)



  เครื่องขับออปติคัล ในปัจจุบันควร เลือกใช้เครื่องขับแผ่นดีวีดี (DVD-RW Drive) เป็นอย่างต่ำ ที่ได้รวมความสามารถต่างๆ ในการจัดการกับแผ่นซีดีและแผ่นดีวีดี
 ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ คีย์บอร์ด เมาส์ gaming
คีย์บอร์ดและเมาส์ เป็นอุปกรณ์พื้อฐานสำหรับป้อนข้อมูลนำเข้า โดยคีย์บอร์ดจะใช้สำหหรับป้อนข้อมูลต่างๆ ส่วนเมาส์จะใช้ชี้ตำแหน่งและคลิกเพื่อเลือกวัตถุหรือสั่งรันโปรแกรม 
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ จอภาพคอมพิวเตอร์ cerb
จอภาพคอมพิวเตอร์ ที่ใช้งานในปัจจุบัน ล้วนเป็นจอภาพแบบ LCD ที่ใช้หลอด LED เป็นอุปกรณ์ส่องสว่างจากด้านหลัง (Backlight) แทนหลอดฟลูออเรสเซ็นต์แบบเดิม ทำให้จอภาพสามารถส่องความสว่างได้มากกว่า น้ำหนักเบา ต้นถุนถูกลง และประหยัดพลังงานมากกว่า 


การ์ดจอภาพ ปกติมักจะออนบอร์ดมาให้พร้อมบนเมนบอร์ดรุ่นใหม่ๆ ซึ้งจะใช้งานควบคู่กับซีพียูที่มี GPU บรรจุอยู่ภายใน อย่างไรก็ตาม หากต้องการแสดงผลภาพที่มีประสิทธิภาพสูงมากขึ้น ก็สามารถใช้การ์ดจอแยก ซึ้งมีทั้งการ์ดจอสำหรับเล่นเกม และการ์ดจอสำหรับงานประมวลผลการฟิกโดยเฉพาะ 
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การ์ดเสียง gaming
การ์ดเสียง เป็นอุปกรณ์แปลงสัญญาณเสียง  ซึ่งเมนบอร์ดทั่วไปมักออนบอร์ดพอร์ตออดิโอมาให้อยู่แล้ว แต่ถ้าต้องการพลังเสียงที่มีคุณภาพ ก็สามารถใช้การ์ดเสียงระดับไฮเอนด์ก็ได้ ซึ่งเหมาะกับงานสตูดิโอ หรือเล่นเกม 
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การ์ดเครือข่าย
การ์ดเครือข่าย หรือพอร์ต LAN ซึ่งมักออนบอร์ดมาให้อยู่แล้วบนเมนบอร์ด นำไปใช้เชื่อมต่อเครือข่าย สำหรับกรณีต้องการใช้การ์ดเครือข่ายแบบไร้สาย ก้สามารถติดตั้งเพิ่มเติมผ่านสล็ตขยายได้



ลำโพง เป็นอุปกรณ์เอาท์พุตที่ใช้ ควบคุมการ์ดเสียง สำหรับลำโพงพื้นฐานที่วไปสามารถใช้ไฟเลี้ยงผ่านพอร์ต USB แต่ถ้าใช้ลำโพงชุดใหญ่ที่มีพลังขับสูง มีซัปวูฟเฟอร์ขับเสียงทุ้ม หรือเป็นลำโพงแบบหลายแชนแนล จะต้องใช้ไฟต่างหาก 
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เครื่องพิมพ์
เครื่องพิมพ์ เป็นอุปกรณ์แสดงผลในรุปแบบ Hard Copy ปัจจุบันมีหลายประเภทให้เลือกใช้ เช่น เครื่องพิมพ์แบบดอทเเมทริกซ์, เลเซอร์ และอิงค์เจ็ต 
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ สแกนเนอร์
สแกนเนอร์ เป็นอุปกรณ์อินพิตที่นิยมใช้สำหรับการสแกนเอกสารเพื่อจัดเก็บเป็นไฟล์ดิจิตอล


เครื่องมัลติฟังก์ชัน เป็นอุปกรณ์ทั้งอินพุตและเอาท์พุต โดยเป็นเครื่องที่ผนวกอุปกรณ์มากกว่าหนึ่งชิ้น ซึ่งโดยมักจะเป็นเครื่องพิมพ์และสแกนเนอร์ภายในตัว หรือบางรุ่นอาจผนวกเครื่องโทรสารมาให้ด้วย 

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เพาเวอร์ซัพพลาย 

เพาเวอร์ซัพพลาย เป็นอุปกรณ์สำคัญที่ทำหน้าที่จ่ายไฟให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ควรคัดเลือกยี่ห้อที่น่าเชื่อถื มีคุณภาพ และกำลังวัตต์เต็ม ทั้งนี้หากคุณภาพของซัพพลายไม่ดี จะจ่ายไฟไม่นิ่ง ส่งผลต่ออุปกรณ์สั้นลง
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ UPS

  UPS เป็นอุปกรณ์สำรองไฟกรณีไฟดับ เพื่อให้เราสามารถสั่งบันทึกไฟล์ได้หากเกิดไฟดับขึ้นมา เครื่อง UPS ที่ดี นอกจากสำรองไฟได้แล้ว ควรมีระบบปรับแรงดัน เพื่อป้องกันไฟตก หรือไฟเกิน  

การจัดชุดคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามลักษณะงาน สามารถแบ่งประเภทออกเป็นชุดคอมพิวเตอร์ต่างๆ ดังนี้
          1. ชุดคอมพิวเตอร์สำหรับใช้งานทั่วไป
          2. ชุดคอมพิวเตอร์สำหรับงานสำนักงาน
          3. ชุดคอมพิวเตอร์สำหรับโปรแกรมกราฟฟิกและงานออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์
          4. ชุดคอมพิวเตอร์สำหรับงานประมวลผลกราฟฟิกขั้นสูง
          5. ชุดคอมพิวเตอร์สำหรับเล่นเกม
 


 

การติดตั้งระบบปฎิบัติการ ไดร์เวอร์ และโปรแกรมประยุกต์

บทที่4
                 การติดตั้งระบบปฎิบัติการ ไดร์เวอร์ และโปรแกรมประยุกต์



ระบบปฏิบัติการ windows 8.1 เวอร์ชั่นด้วยกัน

1.windows 8.1 for emerging markets

2.windows  RT 8.1

3.windows 8.1

4.windows 8.1 Pro

5.windows 8.1 Enterprise
https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEj3vANzzbgFJNGCqE1pjJS3K4LX-66uo5aLzkEAu50NUeU3RpzOZbqGr7A5AiUz6sc4iE87x-NbpfEvW3Y-S9Tnhe86loce4DC9p-LhjnnxOeLKeKkgz6U5nIAj0mTW1Vaa3FVTdpp23mA/s1600/Windows-8-1-Alle.jpg
ไมโครซอฟต์ได้จัดเตรียมระบบปฏิบัติการแบบ 32 บิต และ 64 บิตให้เลือกใช้ เช่น windows 8.1 pro 32/64 บิต โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ๆ ในปัจจุบันล้วนถูกออกแบบมาให้รองรับสถาปัตยกรรมแบบ 64 บิต อยู่แล้ว ก็เหลือเพียงแต่เครื่องรุ่นเก่าๆเท่านั้น ที่ยังใช้สภาปัตยกรรมแบบเดิมซึ่งยังเป็นแบบ 32 บิต


      ระบบปฏิบัติการ 64 บิตจะทำงานได้เร็วกว่าระบบ 32 บิต และยังสามารถใช้งานแอปพลิเคชั่นระบบ 32 บิตได้ ขณะที่ระบบ 32 บิตจะไม่สามารถใช้แอปพลิเคชั่นที่ออกแบบสำหรับระบบ 64 บิต

    

      ระบบปฏิบัติการแบบ 64 บิต มีขีดความสามารถในการรองรับรับขนาดหน่อยความจำได้สูงสุดถึง 512 GB ในขณะที่ระบบปฏิบัติการแบบ 32 บิต รองรับได้ไม่เกิน 4 GB

      

      ไดรเวอร์ คือโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ที่ถูกเขียนขึ้นมาเพื่อใช้เป็นข้อกำหนดในการสื่อสาร อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ กล่าวคือ ไดรเวอร์จะทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ เครื่องคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการ เพื่อให้ระบบปฏิบัติการสามารถสื่อสารและรู้วิธีจัดการและควบคุมอุปกรณ์เหล่า นั้น
https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiGNDRvv-PL6mqq6KXXVaCg3sjFiy1_00fRgvHlNjJuXgfTSU6IxlgrYkX9_LTudKXvq0cFvymQncpSSz3bXNLVtb1mZdoa3M1GBahj-wfl5R3mKGwuMfoqQqr-Pl73Wek1fcLsHmDJr1g/s1600/Untitled-1.png
เมื่อมีการติดตั้งระบบปฏิบัติการแล้ว จึงสามารถติดตั้งโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ๆด้ตามต้องการ

วันพุธที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

บทที่2

โครงสร้างของระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร์และโครงสร้างของระบบปฎิบัติการ


ปฏิบัติการของระบบคอมพิวเตอร์
(computer-system operation)

ระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ปัจจุบันประกอบด้วย ซีพียู และกลุ่มของตัวควบคุมอุปกรณ์ (device controller) ซึ่งเชื่อมต่อเพื่อเข้าถึงหน่วยความจำผ่านทางบัสระบบ (system bus)
อุปกรณ์แต่ละชนิดจะมีตัวควบคุมอุปกรณ์เฉพาะแยกจากกัน โดยมี local buffer
ซีพียูและตัวควบคุมอุปกรณ์ทั้งหมดสามารถทำงานไปพร้อมๆ กันได้
ซีพียูจะย้ายข้อมูลเข้า/ออกระหว่างหน่วยความจำหลักกับ local buffer
ตัวควบคุมอุปกรณ์จะบอกซีพียูว่าอุปกรณ์ทำงานเสร็จแล้วหรือยังโดยวิธีขัดจังหวะ (interrupt)



DMA (Direct Memory Access) หรือการส่งเข้าถึงข้อมูลในหน่วยความจำโดยตรง คือกระบวนการโอนย้ายข้อมูลระหว่างหน่วยความจำกับอุปกรณ์ภายนอก โดยไม่ผ่าน CPU
กระบวนการ DMA เริ่มต้นจาก

1. อุปกรณ์ที่ต้องการทำ DMA ส่งสัญญาณ DREQ เพื่อร้องขอทำ DMA ไปยัง DMA controller ในช่องทาง (channnel) ที่ต้องการ

2. เมื่อ DMA controller ได้รับสัญญาณ ก็จะตรวจสอบก่อนว่าสามารถอณุญาติให้ทำ DMA ได้หรือไม่แล้วจึงส่งสัญญาณ HRQ เพื่อบอก CPU ว่าต้องการเข้ามาใช้ BUS โดยส่งสัญญาณนี้ไปยังของ HOLD ของ CPU

3. เมื่อ CPU ได้รับสัญญาณ HRQ จาก DMA controller ที่ขา HOLD และพร้อมที่จะตอบสนองก็จะส่งสัญญาณ HLDA หรือ Hold Acknowledge ตอบกลับไปยัง DMA controller เพื่อแสดงว่า CPU ได้ปลดตัวเองและปล่อยการควบคุม แล้วจะส่งหน้าที่ต่างๆให้ DMA controller รับไปดำเนินการ

4. เมื่อ DMA controller ได้รับสัญญาณ HLDA แล้วก็เข้าควบคุม address bus และ controller bus และส่งสัญญาณ DACK ตอบกลับไปยังอุปกรณ์เพื่อแสดงถึงการพร้อมสำหรับเริ่มต้นส่งข้อมูล

5. การส่งข้อมูลจะเริ่มต้นโดยจะส่งสัญญาณ AEN ส่งสัญญาณ คือ address แรกของหน่วยความจำเป้าหมายออกไปที่ address bus และส่งสัญญาณไปควบคุมการเขียนและอ่านหน่วยความจำกับอุปกรณ์กับอุปกรณ์ออกไป เพื่อดำเนินการย้ายข้อมูลระหว่างอุปกรณ์กับหน่วยความจำ

6. เมื่อข้อมูลโอนย้ายจนครบสมบูรณ์แล้วก็จะเข้าสู่กระบวนการยกเลิก DMA โดย DMA จะส่งสัญญาณ EOP หรือ End Of Process ออกไป

7. ส่งผลให้สัญญาณ AEN ตกลงเป็น LOW เพื่อคืน bus ให้กับ CPU และ HRQ จาก DMA controller ที่ไปของให้ CPU HOLD ก็จะหายไป เพื่อให้ CPU กลับมาดูแล bus ต่างๆดังเดิม

8.เมื่อสัญญาณที่ร้องของ HOLD หายไป CPU ก็จะรับรู้และจะตอบสนองโดยยกเลิกสัญญาณ HLDA เพื่อแสดงว่าตอนนี้ CPU กลับมาดูแลระบบแล้ว


ลำดับชั้นของหน่วยความจำ (Memory Hierarchy)
หน่วยความจำมีอยู่หลายชนิดด้วยกันแต่ละชนิดต่างก็มีอัตราความเร็วที่แตกต่างกัน
รวมทั้งขนาดความจุและราคาที่แตกต่างกัน สาเหตุที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะว่า
เพื่อให้เราเลือกหน่วยความจำใช้งานได้อย่างเหมาะสมนั้นเอง



หน่วยความจำชั่วคราว (Volatile memory)
 คือหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ที่จำเป็นต้องมีไฟฟ้าเลี้ยงตลอดเวลาตราบเท่าที่ยังต้องการให้มันเก็บข้อมูลนั้นอยู่หรืออีกนัยหนึ่งก็คือหากไม่ได้รับไฟฟ้าเลี้ยงแล้วข้อมูลที่เคยเก็บอยู่ในหน่วยความจำชั่วคราวก็จะหายไป ตัวอย่างของหน่วยความจำชั่วคราวก็คือ แรมชนิดต่างๆ ตรงกันข้ามกับหน่วยความจำถาวรที่ยังรักษาข้อมูลอยู่แม้ว่าจะไม่มีไฟฟ้าเลี้ยงแล้วก็ตาม


หน่วยความจำถาวร (Non-volatile memory) คือหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ที่สามารถเก็บรักษาข้อมูลได้อยู่โดยไม่ต้องอาศัยไฟฟ้า ตัวอย่างหน่วยความจำถาวรเช่น รอม, แฟลช ยังรวมถึงหน่วยเก็บข้อมูลด้วยแม่เหล็ก เช่น hard disks,floppy disks  หน่วยเก็บข้อมูลด้วยแสง เช่น แผ่นCD